มาทำความรู้จำกับประเภทของวาล์วกัน

ก่อนที่จะมาเรียนรู้เกี่ยวกับ Servo valve  มาทำความรู้จำกับประเภทของวาล์วกันก่อนนะครับ วาล์วในงานไฮดรอลิค หากแบ่งตามการทำงานแล้ว จะแบ่งออกเป็น 

เทคนิคง่ายๆและรวดเร็วในการเลือกใช้ปั๊มไฮดรอลิก

เทคนิคง่ายๆและรวดเร็วในการเลือกใช้ปั๊มไฮดรอลิก

 ในแง่ของปั๊มเกียร์ ,ลูกสูบและใบพัด ประเภทใดประเภทหนึ่ง ไม่ได้ดีไปกว่าประเภทอื่น ในแง่ที่แน่นอน พวกมันต่างข้อดี-ข้อเสียที่เเตกต่างกัน แล้วแต่กการใช้งาน และข้อจำกัดในการทำงานนั้นๆ

วาล์วควบคุมแรงดัน, Pressure Control Valves หรือ วาล์วควบคุมแรงดัน

วาล์วควบคุมแรงดัน, Pressure Control Valves หรือ วาล์วควบคุมแรงดัน 

วาล์วควบคุมแรงดัน (Pressure Control Valves)

วาล์วควบคุมความดันไฮดรอลิก ทำหน้าที่ควบคุมความดันสูงสุดของระบบไฮดรอลิก ควบคุมการทำงานของปั๊ม และปรับลด-เพิ่มความดันให้ได้ตามต้องการ      วาล์วควบคุมความดันในระบบไฮดรอลิกมีอยู่ 4 ประเภท

เมื่อเศษเหล็กหลุดเข้าไปในระบบไฮดรอลิค

เมื่อเศษเหล็กหลุดเข้าไปในระบบไฮดรอลิค

หลายๆครั้งที่ตรวจเจอว่ามีเศษเหล็กหลุดเข้าไปในระบบไฮดรอลิค อันดับแรกเลยที่จะเกิดความเสียหายเนื่องก็คือตัวใช้ปั๊มไฮโดรลิคของพวก แบบลูกสูบนั้นเอง แล้วก็มีหลายๆครั้งที่เป็นปั๊มไฮดรอลิกแบบเฟืองเกิดความเสียหายภายใน เศษเหล็กขนาดก้อน เล็กๆที่เข้าไป ขูดทำร้ายภายใน ทำให้เกิดความเสียหายและค่าใช้จ่ายตามมา ยังไงก็แล้วแต่อยากให้ผู้ใช้งานได้ทำการตรวจเช็คกองให้บริการที่จะทำการเข้าปั๊ม ว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ มีการติดตั้งไว้หรือเปล่า เพื่อที่ ระบบน้ำมันไฮดรอลิคของท่านจะได้สะอาดปลอดภัยจากสิ่งสกปรก 
    ที่จะเข้าไปทำร้ายภายในระบบ เพื่อไม่ให้เกิดการเสียค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตามมา หมั่นทำการตรวจเช็คและทำความสะอาด น้ำมันในระบบให้บริการนะครับ

เมื่อมีน้ำเข้ามาผสมกับน้ำมันไฮดรอลิค

ในขณะที่เราทำงานใช้เครื่องจักรในระบบไฮดรอลิค หากมีน้ำเข้ามาผสมในระบบ จะทำให้ ระบบ มีเสียงดังและเกิดความร้อน จะส่งผลให้ ชิ้นส่วนภายในตัวปั๊มไฮดรอลิคและเครื่องจักรเกิดการเสียดสี และติดขัด จะส่งผลให้เกิด ตัวชิ้นส่วนภายในของตัวระบบไฮดรอลิคเองเสียหายแตกหักตามมานะครับ ดังนั้นแล้วในทางที่ดีเมื่อมีน้ำเข้ามาผสมในระบบจึงควรที่จะทำการถ่ายน้ำมันของเดิมทิ้งออกให้หมดและทำการไล่ระบบเอาน้ำมันเก่าออก เช็ดทำความสะอาดหลังจากนั้นเติมน้ำมันใหม่ ก่อนที่จะทำการเปิดเครื่องจักร เพื่อดำเนินการใช้งานเพื่อที่อายุการใช้งานของเครื่องจักรท่านจะได้ยืนยาว หมั่นตรวจเช็คก่อนนะครับว่ามีน้ำเข้ามาในระบบกันหรือไม่

3 ขั้นตอนสำคัญ ที่ควรทำในการติดตั้งปั๊มไฮดรอลิค ก่อนที่จะใช้งานเครื่องจักร

เราจะมาพูดกันถึง 3 ขั้นตอนสำคัญ ในการติดตั้งปั๊มไฮดรอลิคก่อนที่จะรันงาน ใช้เครื่องจักรเพื่อผลิตชิ้นงานสร้างรายได้ให้กับเรา หรือองค์กร ก็จะมีอยู่ 3 ขั้นตอนง่ายๆด้วยกัน
1.ขั้นตอนแรกเลยที่หลายๆคนมักจะมองข้าม นั่นก็คือการตั้งยอยของปั๊มไฮโดรลิคและตัวมอเตอร์ไฟฟ้าหรือชุดต้นกำลังเครื่องยนต์ ในหลายๆครั้งที่เราทำการตรวจเช็คหน้างานของลูกค้าพบว่าย้อยของลูกค้าเปรียบกับนักเรียนของปั๊มไฮโดรลิคเวลาดันเข้าใส่ ไม่มีการตั้งยอยให้ได้ระยะก่อน หรือ ไม่ได้ขันตัวหนอนล็อคยอย ทำให้เมื่อ เวลาที่ลอยหมุนตัว เกิดอาการถอยตัวของยอยเข้ามาเบียดกับหน้าแปลนของปั๊มหรือมอเตอร์ไฟฟ้า และบางครั้งเล่มของตัวใหญ่หลุดออกจาก ตัวยอย ทำให้เพลาเกิดอาการเสียหาย อีกสาเหตุหนึ่งที่เกี่ยวกับออย นั่นก็คือการที่เราตั้งยอยของฝั่งมอเตอร์ไฟฟ้าและตัว ปั๊มไฮโดรลิคไม่ได้ระดับหรือเรียกว่าไม่ได้ศูนย์กลาง ทำให้ตัวยอยหมุนฝืดเกิดอาการงัดของตัวเพลาปั๊มทำให้ตัวปั๊มไฮโดรลิกเกิดอาการเสียหายได้ ปั๊มเกิดอากาศอาจจะเข้าไปที่คอปั๊มได้ อาการเสียงดัง วิธีเช็คง่ายๆอีกอย่างหนึ่งก็คือเมื่อเราตั้งยอยแล้วให้ทำการเอามือหมุนตัวยอยดู ไปในลักษณะที่หมุนทิศทางเดียวกับตัวปั๊มไฮดรอลิกดูว่าหมุนง่ายหรือไม่ หากเราตั้งยอยไม่ได้ระดับ ยอยจะหมุนได้ค่อนข้างที่จะยากและฝืด หากเราตั้งยอยได้ระดับตัวยอยเมื่อเอามือหมุนจะหมุนง่าย ลองเอาวิธีนี้ไปเช็คกันดูนะครับ ก่อนที่จะทำการเปิดเครื่อง ก็เป็นวิธีการหนึ่งที่เช็คได้อย่างง่ายๆไม่ยุ่งยาก แม้ว่าจะไม่ละเอียดมาก แต่ก็เป็นการเช็คเบื้องต้น

การสตาร์ทและปรับตั้งระบบไฮดรอลิกเพื่อความปลอดภัย

การทดสอบtest run ปั๊มไฮดรอลิคและระบบไฮดรอลิค ในครั้งแรก ก็เหมือนกับการtest run เครื่องยนต์ของรถยนต์ ต้องมีการ Test Run อย่างเหมาะสม และทำตาม ขั้นตอนอย่างเคร่งครัด มิเช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายและพังได้ 

ปัญหาปั้มไฮดรอลิคมีเสียงดัง เวลาใช้งาน

ปัญหาของปั๊มไฮโดรลิคเวลาใช้งานไปนานๆแล้วมีอาการเสียงดังหรือว่าเวลาติดตั้ง ปั๊มไฮโดรลิค ตัวใหม่เข้าไป

สิ่งหนึ่งเลยที่เวลาเราไปหน้างานแล้วเราตรวจเช็คเจอบ่อยๆนั่นก็คือมีอากาศเข้าไปในระบบ อากาศเข้าไปในระบบในที่นี้อาจเกิดได้อยู่ 3 สาเหตุ

1. กรองตันแล้วทำให้น้ำมันเข้าไปในปั๊มไฮโดรลิค ได้ไม่เต็มที่

2. น้ำมันไฮดรอลิคขาดทำให้มีอากาศเข้าไปในระบบ

3. ท่อดูดหรือหน้าแปลนขาดูดของปั๊มไฮโดรลิกมีปัญหาอาจรับสายไม่แน่นหรือโอริงหน้าแปลนกรอบเสียหาย จึงทำให้มีอากาศเข้าไปในตัวปั๊มไฮโดรลิค

90% ของความเสียหายในระบบไฮดรอลิค มีผลมาจากความสกปรกของน้ำมันที่ใช้งาน

สาระความรู้:น้ำมันไฮดรอลิคสกปรก แก้ไขอย่างไร...?

90% ของความเสียหายในระบบไฮดรอลิค มีผลมาจากความสกปรกของน้ำมันที่ใช้งาน

ดังนั้นจึงควรจะมีสิ่งที่มาปกป้อง ระบบไฮดรอลิคของเรานั่นก็คือกองขาดูดนั่นเอง วิธีเลือกก็ง่ายๆ ผู้ใช้งานสามารถนำไปปฏิบัติได้เอง

90% ของความเสียหายในระบบไฮดรอลิค มีผลมาจากความสกปรกของน้ำมันที่ใช้งาน

90% ของความเสียหายในระบบไฮดรอลิค มีผลมาจากความสกปรกของน้ำมันที่ใช้งาน

  1. เมื่อน้ำมันสกปรกจะทำให้อุปกรณ์ไฮดรอลิคในระบบทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ เกิดจากมีเศษเหล็กหรือสิ่งสกปรกเข้าไปอุดตันติดตามท่อหรือชิ้นส่วนกลไกระบบ ทำให้ทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพหรือไม่ทำงาน
 
  1. ทำให้เกิดการสึกหรอในอุปกรณ์ต่างๆ เพราะน้ำมันไฮดรอลิคในระบบ มีหน้าที่ในการ หล่อลื่นชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ให้เกิดการขัดสีกันโดยตรง แต่ถ้าหากว่าในน้ำมัน เกิดมีชิ้นส่วนของแข็งขนาดต่างๆ ปะปนอยู่ ดังนั้นแทนที่น้ำมันจะทำหน้าที่ปกป้องการสึกหรอ ชิ้นส่วนของแข็งเหล่านี้กลับจะเข้าไปขูดขีดสร้างความสึกหรอกับอุปกรณ์ต่างๆ คล้ายกับใช้กระดาษทรายไปขัดผิวของอุปกรณ์ต่างๆ ยิ่งมีการขัดสีมากเท่าไหร่ย่อมยิ่ง เพิ่มเศษโลหะของแข็งในระบบยิ่งขึ้น และสุดท้ายคุณก็ต้องเปลี่ยนอุปกรณ์นั้นก่อนถึงเวลาอันควร
 
  1. ทำให้เกิดการกัดกร่อน  หรือเป็นสนิมสิ่งปนเปื้อนในน้ำมัน นอกจากจะเป็นของแข็งแล้ว  ของเหลวหรือ "น้ำ" ที่ปะปนอยู่ในน้ำมัน ก็นับเป็นสิ่งอันตรายที่บั่นทอนอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฮดรอลิค น้ำในระบบจะเกิดได้จากหลาย สาเหตุด้วยกัน เช่น ความชื้นในอากาศ การรั่วซึมของอุปกรณ์ระบายความร้อน (Oil Cooler) ซึ่งล้วนเป็นสาเหตุให้เกิดน้ำปนเปื้อนในระบบซึ่งเมื่อมีน้ำเพิ่มมากขึ้น

สาระไฮดรอลิคเกี่ยวกับกรองไฮดรอลิค

ในระบบไฮดรอลิคสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กับปั๊มไฮโดรลิคเลย นั่นก็คือเรื่องของความสะอาดครับผม ในระบบที่ดีจำเป็นจะต้องมีกรองไฮดรอลิคที่ดีนะครับ คอยเก็บสิ่งสกปรกภายในระบบออก ในส่วนใหญ่แล้วในระบบไฮโดรลิคก็จะใช้กรองไฮดรอลิคอยู่ 2 จุดนั่นก็คือจุดที่เป็นขาดูดอยู่ภายในแท้งกับ จุดที่เป็นขา return ก่อนกลับ Tank 
สิ่งที่ลูกค้ามักเข้าใจผิดก็คือว่ากรองไฮดรอลิค ตันบ่อยๆ ลูกค้าคิดว่า เป็นของไม่ดี การที่ใช้กรองไฮดรอลิคแล้วกองตันแสดงว่ากองตัวนั้นเก็บสิ่งสกปรกเอาไว้มากมันจึงตันเป็นกรองที่ดี แต่ก็เป็นจุดเสียอย่างหนึ่งคือว่าเมื่อกองตันแล้วลูกค้าไม่ทำการเปลี่ยนจะทำให้อากาศ เข้าระบบน้ำมันเข้าไปในตัวปั๊มได้ค่อนข้างยาก ทำให้น้ำมันขาดในการเข้าปั๊มทำให้ปั๊มไฮโดรลิคเสียหาย ในกรณีตำแหน่งของกองขาดูด

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดแรงดัน เช็คค่าและตั้งแรงดันในระบบไฮดรอลิค

ในบทความนี้เราก็จะมาคุยกันเรื่องที่ว่า ช่างไฮดรอลิคใช้เครื่องมืออะไรในการวัดแรงดัน เช็คค่าและตั้งแรงดันในระบบไฮดรอลิค หลังจากที่เรามีกริ่นนำกันไปบ้างเเล้ว และมี เพื่อน ๆ ผู้สนใจสอบถามเข้ามา วันนี้เรามาดูกันคับ

จริงๆแล้วอุปกรณ์และเครื่องมือในการตั้งค่าอุปกรณ์ไฮดรอลิคในระบบมีด้วยกันหลากหลายแบบ แต่ในแบบหลักๆที่ใช้กันบ่อยมากและช่างไฮดรอลิคพกติดตัวตลอดนั่น ก็จะมีอยู่ 3 ตัว หลักๆ